TK Park website
TK Park website

กองบรรณาธิการ The KOMMON

บรรณารักษ์และบทบาทในการสนับสนุนการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน

          บรรณารักษ์ ตำแหน่งที่หลายคนอาจมองว่ามีหน้าที่เพียงดูแลหนังสือ และคอยให้บริการสารสนเทศกับ ผู้มาใช้บริการอยู่ภายในห้องสมุดเท่านั้น แต่สำหรับมหาวิทยาลัยมหิดล บรรณารักษ์เองก็เป็นผู้ส่งมอบความรู้และกระจายความรู้ให้กับสังคมได้โดยตรงเช่นกัน           จุดเริ่มต้นของการนำทักษะในวิชาชีพบรรณารักษ์ผสานกับความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งต่อสู่ชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัยมหิดล เริ่มในปี พ.ศ. 2563 คณะทำงานพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคมร่วมกันจัด “โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม How to ทิ้ง” สำหรับนักเรียนโรงเรียนบุณยศรีสวัสดิ์ จังหวัดนครปฐม...

Read more

CMRU Library ก้าวเล็กๆ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

          เมื่อหลายปีก่อนตอนที่ต้องส่งข้อมูลเกี่ยวกับ SDGs ให้แก่มหาวิทยาลัยและตอบคำถามว่า “ห้องสมุด (สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่) ได้ทำอะไรเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (UN) ทั้ง 17 ข้อบ้าง?” ทำเอาคนห้องสมุดอย่างเราคิดหนักกันเลยทีเดียว           การที่ห้องสมุดเล็กๆ จะเข้าไปมีส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุน The UN 2030 Agenda...

Read more

Gothenburg Film Festival เทศกาลที่ไม่ได้มีดีแค่การฉายหนัง แต่เต็มไปด้วยการทดลองสร้างสรรค์สุดพิลึก

          ผู้ชมราว 270,000 คน           ยอดรวม 700 รอบฉาย            ภาพยนตร์ 250 เรื่อง            จากประเทศต่างๆ 80 ประเทศ            รวมระยะเวลา 11 วัน ...

Read more

‘โมงยามแห่งความ(หวังที่ยังไม่)สิ้นยินดี’ ของสองนักร่วมเขียนเจ้าของรางวัลหนังสือสารคดีดีเด่น

          เราอาจคิดว่าช่วงเวลาหนักหนาของความเป็นมนุษย์คือโมงยามแห่งความเศร้าโศก ทุกข์ตรม หากใครเลยนอกจากผู้เคยผ่านพบ ‘โมงยามแห่งความสิ้นยินดี’ จะรู้ดีว่าการไร้ซึ่งความรู้สึกรู้สาก็หนักหนาเอาการไม่แพ้กัน           เคยมีคำกล่าวว่า “ขั้วตรงข้ามของความรักหาใช่ความเกลียดหากคือความไม่แยแส” (The opposite of love isn’t hate but indifference.) แล้วในแง่ของความสัมพันธ์ต่อตัวเราเองล่ะ ความไม่ยินดียินร้าย หมดสิ้นแล้วซึ่งความสนใจส่งผลต่อสภาวะจิตใจของเราอย่างไร?...

Read more

นิคม พุทธา : ชีวิตเปี่ยมสุขในวัย 60 กับค่ายเยาวชนเชียงดาว

          นิคม พุทธา กอบกู้ชีวิตขึ้นมาจากซากปรักหักพังของความผิดหวังด้วยการเดินเลียบเลาะต้นน้ำปิงไปยังแม่น้ำเจ้าพระยา           ย้อนกลับไปในปี 2550 เขาตัดสินใจลาออกจากงานคุ้มครองสัตว์ป่า กลับบ้านเกิดที่อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ หลังจากประธานมูลนิธิที่เขาร่วมงานมาหลายปีเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจสวนสัตว์           ที่เชียงดาว นิคมก่อตั้งองค์กรของตนเอง ส่งเสริมชาวบ้านจัดการป่าชุมชน แต่ผู้ใหญ่บ้านที่ร่วมงานอนุรักษ์ป่าและต้นน้ำกับเขาถูกลอบสังหารเสียชีวิตไป 3 คน หากใครเคยเดินทางมายังค่ายเยาวชนเชียงดาว ก็จะพบอนุสาวรีย์ของ...

Read more

จิราวรรณ คำซาว : ‘ทุ่งกับดอย’ แปลงทดลองเกษตรอินทรีย์ เปลี่ยนวิถีเกษตรชุมชน

          ‘มล-จิราวรรณ คำซาว’ อดีตนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ หนึ่งในคนรุ่นใหม่ผู้เปลี่ยนวิถีเกษตรชุมชนของอำเภอเชียงดาว ผ่านความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และการทำเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจรมานานกว่า 10 ปี เธอเป็นผู้ก่อตั้งศูนย์เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ครบวงจร ‘ทุ่งกับดอย’ และยังเป็นผู้นำ ‘แก๊งค์ถิ่นนิยม’ กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่อยากพัฒนาบ้านเกิดผ่านการให้ความรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์และกิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ ฝันใหญ่คือยกระดับอุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ สร้างความยั่งยืนให้ระบบนิเวศ แต่ฝันส่วนตัวคือการมีชีวิตที่ดีและมีคุณภาพ           “จริงๆ แล้วมลเกิดที่นี่ค่ะ” เธอหมายถึงเชียงดาว...

Read more

Libraries are for users: the value and application of UX research and design

ที่ผ่านมาการดำเนินงานของห้องสมุดส่วนใหญ่เป็นไปตามความสะดวกของเจ้าหน้าที่มากกว่าจะทำไปเพื่อผู้ใช้งาน ห้องสมุดไม่ได้คุยกับผู้ใช้บริการมากพอหรือค้นคว้าว่าพวกเขามีพฤติกรรมและความต้องการอย่างไร หากมีการทำวิจัย ก็มักเป็นเพียงการสำรวจ การสนทนากลุ่ม และเก็บข้อมูลทางสถิติผู้ใช้งานห้องสมุด ซึ่งผิวเผินเกินไปและยังไม่ได้คำตอบว่าสิ่งที่ผู้ใช้บริการอยากได้จริงๆ นั้นคืออะไร ห้องสมุดสามารถใช้ UX หรือ “User Experience” เป็นเครื่องมือทำความเข้าใจผู้ใช้งานให้มากขึ้น เช่น แผนที่พฤติกรรม การตรวจจับการเคลื่อนไหวของดวงตา การทดสอบการใช้งานผลิตภัณฑ์ เกมสร้างแบบจำลอง จดหมายรักและบอกเลิก...

Read more

ชลิพา ดุลยากร : insKru แพลตฟอร์มการศึกษาที่มุ่งเปลี่ยนความเชื่อของครู

          ว่ากันว่าการผสมกันของสองศาสตร์จะทำให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ใครจะไปคิดว่าการผสมผสานความรู้ด้านการออกแบบจากสาขาสถาปัตยกรรมเข้ากับความรู้ด้านศึกษาศาสตร์จะทำให้เกิดรูปแบบการเรียนการสอนใหม่ๆ หรือยิ่งไปกว่านั้นคือแปรเปลี่ยนวัฒนธรรมอำนาจนิยมเดิมๆ ที่เริ่มต้นจากห้องเรียน           นะโม - ชลิพา ดุลยากร ผู้ร่วมก่อตั้ง insKru ไม่ได้เรียนจบมาทางด้านศึกษาศาสตร์หรือครุศาสตร์ แม้การเป็นครูจะเคยเป็นความฝันในวัยเด็ก แต่ ‘ภาพจำ’ บางอย่างก็ทำให้เธอตัดสินใจเบนเข็มไปเรียนด้านสถาปัตยกรรมอุตสาหการที่หัวใจแท้จริงคือเรื่องของการ ‘ออกแบบ’ ไม่ใช่แค่ผลิตภัณฑ์ อาคารบ้านเรือน...

Read more

ศิวกานท์ ปทุมสูติ การเรียนรู้กับการศึกษาทางเลือก – “เราต่างเป็นครูของกันและกัน”

          “เจ้ารู้ว่ากวีนิพนธ์เป็นมากกว่าหนึ่งสิ่ง และอะไรก็ตามที่เปลี่ยนผ่านจากการไม่มีอยู่มาสู่การมีอยู่ ล้วนมีเหตุมาจากการรังสรรค์หรือกวีนิพนธ์ ดังนั้นผลิตผลทั้งหมดของศิลปะก็คือรูปแบบหนึ่งของกวีนิพนธ์ และช่างฝีมือเหล่านี้ถือว่าเป็นกวีดุจเดียวกัน”           ความเป็นกวีบนบรรทัดข้างต้นถูกกล่าวไว้ใน ซิมโพเซียม: ปรัชญาวิวาทะว่าด้วยความรัก บทสนทนาชิ้นสำคัญของ เพลโต กรอบคิดแบบตะวันตกที่สืบทอดมาจากกรีกและโรมัน มองว่า กวีสัมพันธ์กับการเป็น ‘ผู้สร้าง’ หรือ ‘ผู้ที่ทำให้บางสิ่งที่อาจไม่มีอยู่หรือมีอยู่แต่ไม่ปรากฏ ได้ปรากฏขึ้นมา’          ...

Read more
Page 1 of 19 1 2 19

Welcome Back!

Login to your account below

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Add New Playlist

The KOMMON มีการใช้คุกกี้ เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ไปวิเคราะห์และปรับปรุงการให้บริการที่ดียิ่งขึ้น คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้สำหรับการวิเคราห์

    คุกกี้นี้เป็นการเก็บข้อมูลสาธารณะ สำหรับการวิเคราะห์ และเก็บสถิติการใช้งานเว็บภายในเว็บไซต์นี้เท่านั้น ไม่ได้เก็บข้อมูลส่วนตัวที่ไม่เป็นสาธารณะใดๆ ของผู้ใช้งาน

บันทึก