วัฒนธรรมหนังสือในอุษาคเนย์

55 views
October 30, 2017
วัฒนธรรมหนังสือในอุษาคเนย์

วัฒนธรรมความรู้ของอุษาคเนย์มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนาน ทั้งการสื่อสารโดยมุขปาฐะ เช่น เรื่องเล่า นิทาน การแสดง การขับลำนำ และการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งจำกัดอยู่เฉพาะกลุ่มผู้ที่มีการศึกษาและมีศูนย์กลางอยู่ที่วัดกับวัง ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีการพิมพ์เข้ามาในศตวรรษที่ 19 เป็นการเปลี่ยนโลกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำหรับประเทศไทยการพิมพ์หนังสือเข้ามาในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยหมอบรัดเลย์

หนังสือคือหน้าต่างที่เปิดเผยความเป็นมนุษย์ การศึกษาเรื่องราวของหนังสือจะต้องคำนึงถึงบริบทของหนังสือด้วย เราไม่ได้อ่านหนังสือแต่เพียงอย่างเดียว แต่เราจะต้องอ่านบริบทของหนังสือที่เราอ่านด้วย จึงจะเข้าใจสิ่งที่หนังสือเขียนอย่างถ่องแท้ หนังสือเกิดขึ้นจากบริบทของสังคม ในอีกด้านหนึ่งหนังสือก็มีส่วนในการขับเคลื่อนสังคมด้วยเช่นกัน

บันทึกการบรรยาย วัฒนธรรมหนังสือในอุษาคเนย์ โดย รศ.ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ผู้อำนวยการสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บันทึกในโอกาสการประชุมวิชาการประจำปี 2556 (Thailand Conference on Reading 2013) ของสถาบันอุทยานการเรียนรู้

ดำเนินรายการ

ติดตามฟัง TK PODCAST ได้ที่

RELATED POST

แหล่งชุมนุมความคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรียนรู้
และห้องสมุดกับการเปลี่ยนแปลงสังคม

                                                                                            

The KOMMON มีการใช้คุกกี้ เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ไปวิเคราะห์และปรับปรุงการให้บริการที่ดียิ่งขึ้น คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้สำหรับการวิเคราห์

    คุกกี้นี้เป็นการเก็บข้อมูลสาธารณะ สำหรับการวิเคราะห์ และเก็บสถิติการใช้งานเว็บภายในเว็บไซต์นี้เท่านั้น ไม่ได้เก็บข้อมูลส่วนตัวที่ไม่เป็นสาธารณะใดๆ ของผู้ใช้งาน

บันทึก