รู้จักสถาบันหนังสือแห่งชาติอินเดีย แล้วย้อนมองไทย

72 views
June 18, 2020

บันทึกเสียงการเสวนาจากงานแถลงข่าวผลสำรวจการอ่านของประชากร 2561 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2562 โดย ธนิษฐา แดนศิลป์ บรรณาธิการสำนักพิมพ์ผีเสื้อและบรรณาธิการบริหารสำนักพิมพ์ภารตะ มาบอกเล่าแนวคิดความเป็นมาและบทบาทขององค์กรส่งเสริมการอ่านในอินเดีย ประเทศที่ได้ชื่อว่ามีประชากรที่ยากจนจำนวนมากเป็นอันดับต้นๆ ของโลก แต่กลับมีนักอ่านจำนวนมหาศาลและยอดจำหน่ายหนังสือพิมพ์สูงติดอันดับโลก พร้อมทั้งมุมมองถึงความเป็นไปได้ของการจัดตั้งสถาบันหนังสือแห่งชาติในประเทศไทยที่มีการพูดถึงมานานกว่าสิบปี อุปสรรคอยู่ที่ไหน และเหตุใดความพยายามผลักดันจึงยังคงเป็นความพยายามต่อไป

หมายเหตุ ตัดต่อจากเนื้อหาเดิมซึ่งรวมการเสวนา 3 หัวข้อไว้ด้วยกันใน Coming to Talk EP.22 ตอน ‘ก้าวข้ามทศวรรษแห่งการอ่าน’ สำหรับการนำมาเผยแพร่ใหม่นี้ได้แยกการเสวนาแต่ละหัวข้อออกมา เพื่อให้ผู้ฟังที่สนใจเฉพาะเรื่องสามารถติดตามรับฟังได้ง่ายขึ้น

ดำเนินรายการ

ติดตามฟัง TK PODCAST ได้ที่

RELATED POST

แหล่งชุมนุมความคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรียนรู้
และห้องสมุดกับการเปลี่ยนแปลงสังคม

                                                                                            

The KOMMON มีการใช้คุกกี้ เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ไปวิเคราะห์และปรับปรุงการให้บริการที่ดียิ่งขึ้น คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้สำหรับการวิเคราห์

    คุกกี้นี้เป็นการเก็บข้อมูลสาธารณะ สำหรับการวิเคราะห์ และเก็บสถิติการใช้งานเว็บภายในเว็บไซต์นี้เท่านั้น ไม่ได้เก็บข้อมูลส่วนตัวที่ไม่เป็นสาธารณะใดๆ ของผู้ใช้งาน

บันทึก