TK Park website
TK Park website

‘แค่มานั่งหายใจเงียบๆ ก็ได้’ หลุมหลบภัยและที่พักใจของชาว LGBTQ+ ในลอนดอน

          หลายคนอาจคุ้นเคยกับชื่อของอลัน ทัวริง (Alan Turing) ในหนัง The Imitation Game (2014) ที่เล่าชีวประวัติของนักคณิตศาสตร์คนสำคัญชาวอังกฤษ ผู้คิดค้นการถอดรหัสอีนิกมา ทำให้สงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดเร็วขึ้น และช่วยชีวิตผู้คนได้จำนวนมาก            แต่ท้ายสุดในปี 1952 ทัวริงกลับถูกกล่าวหาเป็นอาชญากรในข้อหา ...

ลองลิ้มชิมรสประวัติศาสตร์สังคมไทยในจานอาหาร กับอาสา คำภา

          ‘มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง…’ คือความท่อนหนึ่งในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 ซึ่งปรากฏในแบบเรียน และกลายเป็นเมนูภาพจำหนึ่งของอาหารไทยที่มีชื่อเสียง ถ้าจะพูดถึงประวัติของเมนูนี้คงต้องย้อนไปถึงการรับอิทธิพลของมุสลิมตั้งแต่สมัยอยุธยา และยังมีอาหารไทยลือชื่ออีกหลายจานที่เกิดจากการผสมผสานวัฒนธรรม เช่น ผัดไทย ซึ่งมีที่มาจากเมนูก๋วยเตี๋ยวผัดของชาวจีนโพ้นทะเล           ตัวอย่างข้างต้นเป็นเพียงบางส่วนของ ‘รูปทิพย์’ แห่งความเป็นไทยผ่านอาหารที่ถูกกำหนดผ่านสนามของการต่อสู้ ต่อรอง และช่วงชิงความหมายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน           ...

‘ชีวิตเร้นลับของต้นไม้’ ต้นไม้ซับซ้อน ชีวิตซ่อนเร้น

          เมื่อไม่กี่ปีก่อน ผู้เขียนได้อ่านเรื่องเล่าของอัลเฟรด เออร์วิง ฮัลโลเวลล์ (Alfred Irving Hallowell) นักมานุษยวิทยาชาวอเมริกันที่เขียนเล่าเรื่องราวระหว่างที่เขาลงพื้นที่ศึกษาอินเดียนแดงเผ่าโอจิบเว (Ojibwe) ซึ่งอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของประเทศแคนาดา ฮัลโลเวลล์เล่าว่า เขาได้สานสัมพันธ์กับ วิลเลียม เบเรนส์ (William Berens) หัวหน้าของชาวอินเดียนแดงผู้รอบรู้สิ่งต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องราวของธรรมชาติอย่างชีวิตของสัตว์ป่า ต้นไม้ใบหญ้า แต่ที่ดูจะแปลกไปกว่าสิ่งอื่นๆ ...

Gothenburg Film Festival เทศกาลที่ไม่ได้มีดีแค่การฉายหนัง แต่เต็มไปด้วยการทดลองสร้างสรรค์สุดพิลึก

          ผู้ชมราว 270,000 คน           ยอดรวม 700 รอบฉาย            ภาพยนตร์ 250 เรื่อง            จากประเทศต่างๆ 80 ประเทศ            รวมระยะเวลา 11 วัน  ...

Smart Urban Farming เทคโนโลยีล้ำสมัย สร้างพื้นที่ปลูกผักปลูกใจให้คนฮ่องกง

        การทำเกษตรกรรมบนตึกสูงกลางเมือง (Urban agriculture, Vertical farming หรือ Urban farming) อาจจะเป็นอนาคตของการทำเกษตรกรรม เมื่อประชากรโลกกว่า 70 % อาศัยอยู่ในเมืองมากกว่าชนบท คอมมูนิตี้ปลูกผักของชาวคอนโด หรือ สตาร์ตอัปที่ปลูกผักบนตึกสูงโดยการนำเทคโนโลยีนวัตกรรมทางการเกษตรมาปรับใช้ เพื่อส่งผลผลิตทางการเกษตรให้กับร้านอาหารและร้านค้าในละแวกใกล้เคียงโดยเฉพาะจึงเพิ่มมากขึ้น         ฮ่องกง หนึ่งในพื้นที่ธุรกิจซิวิไลซ์ เกาะป่าคอนกรีตที่รายล้อมไปด้วยมหาสมุทร ...

เทรเวอร์ โนอาห์ : ฉากชีวิต ‘พลเมืองชั้นสอง’ กับการมอบ ‘โอกาสที่สอง’ ให้คนในสังคมเหลื่อมล้ำ

          ยากสักหน่อยที่จะอธิบายความซับซ้อนของเทรเวอร์ โนอาห์ (Trevor Noah) นักแสดงเดี่ยวไมโครโฟนชื่อดัง และอดีตพิธีกรรายการ The Daily Show ของสหรัฐอเมริกา เพราะประวัติชีวิตของเขาเต็มไปด้วยความยากลำบาก แต่ก็มีสีสันในแง่ของการเป็นคนแอฟริกันที่ไม่เคยลืมว่าตัวเองเติบโตมาอย่างไร แถมยังค้นพบว่าเสียงหัวเราะนี่แหละที่จะเชื่อมเขาและทุกคนไว้ด้วยกัน           เทรเวอร์เติบโตขึ้นมาท่ามกลางการแบ่งแยกผิวสี (Apartheid) สังคมแอฟริกาใต้ในยุคนั้นมีแต่พื้นที่แห่งความไม่เท่าเทียมอย่างชัดเจน เขาเขียนหนังสือเล่าอัตชีวประวัติของตัวเองชื่อ Born ...

Crying in H Mart อาหาร วัฒนธรรม และความทรงจำถึงแม่ที่จากไป

          ความกลัวว่า สักวันหนึ่งคนที่เรารักจะตายจากไปน่าจะเป็นหนึ่งในความกลัวสากลที่สุดในสังคมปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ หรือคนรัก การจินตนาการว่าสักวันบุคคลเหล่านี้จะหายจากชีวิตเราไปดูจะเป็นอะไรที่น่าหวาดหวั่น หรือเผลอๆ อาจถึงขั้นน่าสะพรึงกลัว           ความตายไม่เคยเป็นเรื่องง่ายดาย ซึ่งมิเชลล์ ซอเนอร์ก็ดูจะกระจ่างแจ้งเรื่องนี้เป็นอย่างดี น่าเศร้าตรงที่เธอกลับตระหนักถึงน้ำหนักของมันในวันที่สาย วันที่คำว่าแม่เปลี่ยนสถานะไปสู่ความทรงจำ เสียงแว่ว ความฝัน และรสสัมผัสบนปลายลิ้นที่บางครั้งก็ระลึกนึกขึ้นได้            ระลึกได้ ...

‘โมงยามแห่งความ(หวังที่ยังไม่)สิ้นยินดี’ ของสองนักร่วมเขียนเจ้าของรางวัลหนังสือสารคดีดีเด่น

          เราอาจคิดว่าช่วงเวลาหนักหนาของความเป็นมนุษย์คือโมงยามแห่งความเศร้าโศก ทุกข์ตรม หากใครเลยนอกจากผู้เคยผ่านพบ ‘โมงยามแห่งความสิ้นยินดี’ จะรู้ดีว่าการไร้ซึ่งความรู้สึกรู้สาก็หนักหนาเอาการไม่แพ้กัน           เคยมีคำกล่าวว่า “ขั้วตรงข้ามของความรักหาใช่ความเกลียดหากคือความไม่แยแส” (The opposite of love isn’t hate but indifference.) แล้วในแง่ของความสัมพันธ์ต่อตัวเราเองล่ะ ความไม่ยินดียินร้าย หมดสิ้นแล้วซึ่งความสนใจส่งผลต่อสภาวะจิตใจของเราอย่างไร? ...

Collaborative Design รู้จักการออกแบบที่ให้คุณค่ากับสิ่งอื่นนอกเหนือจากมนุษย์

          อย่างพื้นฐานที่สุด ‘การออกแบบ’ (Design) นั้นหมายถึง ‘การสร้างสรรค์’ แต่หากเราลองถอยออกมามองภาพที่กว้างกว่านั้น การสร้างสรรค์ที่ว่านี้อาจหมายความได้ทั้ง ‘การวางแผน' ‘การต่อยอด’ ‘การพัฒนา’ ไปจนถึงอะไรอีกมากมาย ว่ากันตรงๆ การออกแบบเป็นคำที่ค่อนข้างใหญ่ ซึ่งการจะนิยามคำนี้ให้อยู่ภายใต้คำจัดความที่สั้นกระชับและเข้าใจง่าย อาจไม่ใช่อะไรที่ง่ายอย่างที่มันควรจะเป็น           นั่นเพราะในแง่หนึ่ง การออกแบบเป็นคำที่ ‘ให้ความรู้สึกไม่หยุดนิ่ง’ ...

เปลี่ยน ‘ศาสนาของรัฐ’ เป็น ‘ศาสนาของผู้คน’ ดึง ‘อำนาจรัฐ’ ออกจาก ‘ศรัทธา’

          ไม่มีใครรู้ว่ามนุษย์คนแรกที่สร้าง ‘ศาสนา’ เป็นใคร บอกได้เพียงว่าตลอดประวัติศาสตร์ที่ได้รับการจารึก ศาสนาเป็นได้ทั้งงานสร้างสรรค์และอาวุธประหัตประหาร           เราบอกอะไรได้อีก...ศาสนาคือความเชื่อ ความเชื่อที่สาวกของทุกศาสนาล้วนยืนยันว่ามันคือความจริงสูงสุดเพียงหนึ่งเดียว มันจะง่ายกว่านั้นมากหากมนุษย์จะเก็บรักษาสิ่งนี้ไว้ภายในใจ เคร่งครัดตนเองตามแนวทางคำสอนและไม่บังคับให้ผู้อื่นให้ต้องเชื่อเหมือนตน ก็นั่นแหละที่ยาก มนุษย์มีแนวโน้มจะยัดเยียดสิ่งที่ตนเชื่อว่าดีงามให้กับคนนั้นคนนี้ในนามของความปรารถนาดี           เพราะมีความจริงสูงสุดเพียงหนึ่งเดียวและแนวทางการเข้าถึงความจริงในแบบของตน โดยธรรมชาติ ศาสนาจึงมีเส้นแบ่งความ ‘เป็นเรา’ และ ‘เป็นอื่น’ ...

‘เดนมาร์กสีเขียว’ เปลี่ยนได้ในคนรุ่นเดียว: การออกแบบนโยบายเพื่อแก้ปัญหาเชิงระบบสู่เป้าหมายความยั่งยืน

          ความยากของการตั้งเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นการเข้าสู่การเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral) หรือเปลี่ยนผ่านพลังงานฟอสซิลมาเป็นพลังงานสะอาด คือทำอย่างไรให้ประชาชนในพื้นที่มองเห็นว่าความยั่งยืนเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ไม่ใช่การรณรงค์ส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืนแบบชั่วครั้งชั่วคราว           ประเทศเดนมาร์กเป็นตัวอย่างที่ดี ทว่า ย้อนกลับไปเมื่อสัก 40 ปีก่อน เดนมาร์กก็เคยเต็มไปด้วยมลพิษทางน้ำและอากาศ เพราะแต่เดิมอุตสาหกรรมหลักของประเทศคือการประมง ท่าเรือส่วนใหญ่ถูกใช้ขนส่งสินค้าและบริการของอุตสาหกรรม           จุดเปลี่ยนคือเดนมาร์กเรียนรู้จากวิกฤต ...

ลองลิ้มชิมรสประวัติศาสตร์สังคมไทยในจานอาหาร กับอาสา คำภา

          ‘มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง…’ คือความท่อนหนึ่งในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่...

Read more

‘ชีวิตเร้นลับของต้นไม้’ ต้นไม้ซับซ้อน ชีวิตซ่อนเร้น

          เมื่อไม่กี่ปีก่อน ผู้เขียนได้อ่านเรื่องเล่าของอัลเฟรด เออร์วิง ฮัลโลเวลล์...

Read more

Crying in H Mart อาหาร วัฒนธรรม และความทรงจำถึงแม่ที่จากไป

          ความกลัวว่า สักวันหนึ่งคนที่เรารักจะตายจากไปน่าจะเป็นหนึ่งในความกลัวสากลที่สุดในสังคมปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่...

Read more

‘โมงยามแห่งความ(หวังที่ยังไม่)สิ้นยินดี’ ของสองนักร่วมเขียนเจ้าของรางวัลหนังสือสารคดีดีเด่น

          เราอาจคิดว่าช่วงเวลาหนักหนาของความเป็นมนุษย์คือโมงยามแห่งความเศร้าโศก ทุกข์ตรม หากใครเลยนอกจากผู้เคยผ่านพบ ‘โมงยามแห่งความสิ้นยินดี’...

Read more

MOST POPULAR

VIDEO

Welcome Back!

Login to your account below

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Add New Playlist

The KOMMON มีการใช้คุกกี้ เพื่อเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ไปวิเคราะห์และปรับปรุงการให้บริการที่ดียิ่งขึ้น คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

อนุญาตทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้สำหรับการวิเคราห์

    คุกกี้นี้เป็นการเก็บข้อมูลสาธารณะ สำหรับการวิเคราะห์ และเก็บสถิติการใช้งานเว็บภายในเว็บไซต์นี้เท่านั้น ไม่ได้เก็บข้อมูลส่วนตัวที่ไม่เป็นสาธารณะใดๆ ของผู้ใช้งาน

บันทึก